การบันทึกครั้งที่ 2 / วันพุธที่ 26 สิงหาคม พ.ศ.2558
เรียนเวลา 08.30 - 12.30 น.
เนื้อหาที่เรียน ความรู้ที่ได้รับ
- ทำป้ายชื่อ
วันนี้อาจารย์ให้เขียนป้ายชื่อของตัวเองด้วยตัวอักษรตัวเหลี่ยม ฝึกเขียนตัวหนังสือตัวเหลี่ยมให้ชินจะได้นำไปเขียนให้เด็กดู
- ทบทวนเพลง5เพลง เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ได้แก่
เพลงสวัสดี
เพลงนม
เพลงอาบน้ำ
เพลงพี่น้องกัน
และเพลงฝึกกายบริหาร
อาจารย์ให้จับกลุ่มเป็นวงกลม แล้วสวัสดีเพื่อน ๆ ด้วยภาษาอาเซียน
- เนื้อหา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
ภาษา หมายถึง การสื่อความหมายเป็นเครื่องมือในการแสดงความคิดและความรู้สึก
ความสำคัญของภาษา
1. ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
2. ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
3. ภาษาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน
4. ภาษาเป็นเครื่องมือช่วยจรรโลงใจ
ทักษะทางภาษา ประกอบด้วย การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน
องค์ประกอบของภาษา Phonology , Semantic , Syntax , Pragmatic
พัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย
1. ระยะเปะปะ
2. ระยะแยกแยะ
3. ระยะเลียนแบบ
4. ระยะขยาย
5. ระยะโครงสร้าง
6. ระยะตอบสนอง
7. ระยะสร้างสรรค์
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางภาษา วุฒิภาวะ สิ่งแวดล้อม การเข้าใจความหมายภาษาที่ใช้พูด การจัดชั้นเรียน และการมีส่วนร่วม
- วาดรูป/บรรยายใต้ภาพ โดยใช้ตัวอักษรตัวเหลี่ยม
ดิฉันวาดรูปผีเสื้อน้อยน่ารัก พร้อมเขียนบรรยายด้วยตัวอักษรหัวเหลี่ยมว่า " ตุ๊กตาผีเสื้อที่พ่อซื้อให้"และอาจารย์ให้ตัวแทนออกไปบรรยายใต้ภาพ 3 คน
- ฝึกร้องเพลงใหม่5เพลง ได้แก่ เพลงตาดูหูฟัง เพลงจ้ำจี้ดอกไม้ เพลงดอกไม้ เพลงนกเขาขัน และเพลงกินผักกัน เพลงแต่ละเพลงที่อาจารย์ฝึกให้ร้องง่ายและสนุกทุกเพลงเลย
ประเมินเพื่อน เพื่อนทุกคน ตั้งใจเรียน และทำกิจกรรมร่วมกันอย่างสนุกสนาน ได้ช่วยกันระดมความคิด แชร์ประสบการณ์ที่แปลกใหม่ สามารถเรียกเสียงหัวเราะจากอาจารย์ และเพื่อน ๆ ได้
ประเมินอาจารย์ อาจารย์มีการเตรียมการสอนมาอย่างดี ทำให้การเรียนทั้งด้านวิชาการ และกิจกรรมต่าง ๆ มีความต่อเนื่อง ดึงดูดความสนใจของนักศึกษา รวมทั้งให้คำแนะนำต่าง ๆ ที่นักศึกษาสงสัย ได้เป็นอย่างดี จึงทำให้การเรียนการสอนเป็นไปอย่างราบรื่น ไม่น่าเบื่อ
วันนี้อาจารย์ให้เขียนป้ายชื่อของตัวเองด้วยตัวอักษรตัวเหลี่ยม ฝึกเขียนตัวหนังสือตัวเหลี่ยมให้ชินจะได้นำไปเขียนให้เด็กดู
- ทบทวนเพลง5เพลง เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ได้แก่
เพลงสวัสดี
เพลงนม
เพลงอาบน้ำ
เพลงพี่น้องกัน
และเพลงฝึกกายบริหาร
อาจารย์ให้จับกลุ่มเป็นวงกลม แล้วสวัสดีเพื่อน ๆ ด้วยภาษาอาเซียน
- เนื้อหา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
ภาษา หมายถึง การสื่อความหมายเป็นเครื่องมือในการแสดงความคิดและความรู้สึก
ความสำคัญของภาษา
1. ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
2. ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
3. ภาษาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน
4. ภาษาเป็นเครื่องมือช่วยจรรโลงใจ
ทักษะทางภาษา ประกอบด้วย การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน
องค์ประกอบของภาษา Phonology , Semantic , Syntax , Pragmatic
พัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย
1. ระยะเปะปะ
2. ระยะแยกแยะ
3. ระยะเลียนแบบ
4. ระยะขยาย
5. ระยะโครงสร้าง
6. ระยะตอบสนอง
7. ระยะสร้างสรรค์
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางภาษา วุฒิภาวะ สิ่งแวดล้อม การเข้าใจความหมายภาษาที่ใช้พูด การจัดชั้นเรียน และการมีส่วนร่วม
- วาดรูป/บรรยายใต้ภาพ โดยใช้ตัวอักษรตัวเหลี่ยม
ดิฉันวาดรูปผีเสื้อน้อยน่ารัก พร้อมเขียนบรรยายด้วยตัวอักษรหัวเหลี่ยมว่า " ตุ๊กตาผีเสื้อที่พ่อซื้อให้"และอาจารย์ให้ตัวแทนออกไปบรรยายใต้ภาพ 3 คน
- ฝึกร้องเพลงใหม่5เพลง ได้แก่ เพลงตาดูหูฟัง เพลงจ้ำจี้ดอกไม้ เพลงดอกไม้ เพลงนกเขาขัน และเพลงกินผักกัน เพลงแต่ละเพลงที่อาจารย์ฝึกให้ร้องง่ายและสนุกทุกเพลงเลย
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
- เมื่อมีความรู้ ความเข้าใจกับกับการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมากขึ้น ก็จะทำให้สามารถจัดประสบการณ์ได้ตรงตามความเหมาะสมของเด็กแต่ละช่วงวัย เพื่อให้การเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
- สามารถนำเพลงที่ได้ฝึกร้อง พร้อมท่าทางประกอบ ไปสอนเด็กปฐมวัย เพื่อเป็นการส่งเสริมทักษะทางภาษา และการทำกิจกรรมร่วมกันของเด็ก
การประเมินผล
ประเมินตนเอง ตนเองมีความตั้งใจในการเรียน และการทำกิจกรรมต่าง ๆ อาจจะมีเล่นบ้าง แต่ก็พยายามดึงตนเองกลับมา เพราะทุกกิจกรรมมีความน่าสนใจ จึงทำให้การเรียนไม่น่าเบื่อ สนุกสนาน ไม่เครียดประเมินเพื่อน เพื่อนทุกคน ตั้งใจเรียน และทำกิจกรรมร่วมกันอย่างสนุกสนาน ได้ช่วยกันระดมความคิด แชร์ประสบการณ์ที่แปลกใหม่ สามารถเรียกเสียงหัวเราะจากอาจารย์ และเพื่อน ๆ ได้
ประเมินอาจารย์ อาจารย์มีการเตรียมการสอนมาอย่างดี ทำให้การเรียนทั้งด้านวิชาการ และกิจกรรมต่าง ๆ มีความต่อเนื่อง ดึงดูดความสนใจของนักศึกษา รวมทั้งให้คำแนะนำต่าง ๆ ที่นักศึกษาสงสัย ได้เป็นอย่างดี จึงทำให้การเรียนการสอนเป็นไปอย่างราบรื่น ไม่น่าเบื่อ