การบันทึกครั้งที่ 5 / วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2558
เรียนเวลา 08.30 - 12.30 น.
เนื้อหาที่เรียน
ความรู้ที่ได้รับ
กิจกรรมแรกของสัปดาห์นี้ อาจารย์ให้ร้องเพลงทบทวนเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
เพลงดวงอาทิตย์
เพลงดวงจันทร์
เพลงรำวงดอกมะลิ
เพลงดอกมะลิ
และเพลงดอกกุหลาบ
กิจกรรมนี้อาจารย์ให้ทายคำถาม อะไรเอ๋ย ?
แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
- เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้
ภาษาของเด็ก
- นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน
Richard and Rodger (1995)
ได้แบ่งมุมมองต่อภาษาในการจัดประสบการณ์เป็น 3 กลุ่ม
- มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
- มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
- มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
การสอนแบบอ่านแจกลูก
(Phonic)
- การประสมคำ
- พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด
ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
- สนใจ อยากรู้อยากเห็นสิ่งรอบๆตัว
- ช่างสงสัย ช่างซักถาม
- มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
- ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
- เลียนแบบคนรอบข้าง
ทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
- เด็กเรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์และการลงมือกระทำ
- เด็กเรียนรู้จากกิจกรรม
การเคลื่อนไหวของตนเองและการได้สัมผัสจับต้องกับสิ่งต่างๆ
แล้วสร้างความรู้ขึ้นมาด้วยตนเอง
- อิทธิพลของสังคมและบุคคลอื่นๆ
มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ นฤมน
เนียมหอม (2540)
- การจัดสภาพแวดล้อม
- การสื่อสารที่มีความหมาย
- การเป็นแบบอย่าง
- การตั้งความคาดหวัง
- การคาดคะเน
- การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
- การยอมรับนับถือ
- การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
บทบาทครู
(นิรมล ช่างวัฒนชัย,
2541)
- ครูคาดหวังเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
- ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน
การเขียน
- ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกครบถ้วนของเด็ก
- ครูสร้างความสนใจในคำและสิ่งพิมพ์
( อาจารย์ให้ดูวิดีโอเกี่ยวกับภาษาธรรมชาติของเด็ก )
กิจกรรมต่อมาอาจารย์ให้ร้องใหม่ 5 เพลง ได้แก่
เพลงนกกระจิบ
เพลงเที่ยวท้องนา
เพลงแม่ไก่ออกไข่
เพลงลูกแมวสิบตัว
และเพลงลุงมาชาวนา
และกิจกรรมสุดท้ายของสัปดาห์นี้อาจารย์ให้ออกมาร้องเพลงหน้าชั้นเรียนคนละ 1 เพลง
ดิฉันร้องเพลง สวัสดี
การประเมินผล
ประเมินตนเอง : มีความตั้งใจในการเรียน มีความกระตือรือร้นในการทำงาน
ประเมินเพื่อน : เพื่อน ๆ มีความตั้งใจในการทำกิจกรรมทุก ๆ อย่าง ช่วยเหลือ ให้คำปรึกษากัน รับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย มีความสนุกสนานในการเรียน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น